ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ตั้งเป้าหมายชีวิตเพื่อพิชิตพระนิพพาน
พระพุทธองค์ทรงชี้ทางรั่วไหลออกของทรัพย์ว่า โภคทรัพย์ที่เกิดโดยชอบนี้ มีทางเสื่อม ๔ ประการ คือ เที่ยวผู้หญิง ดื่มสุรา เล่นการพนันและคบมิตรชั่ว เหมือนสระ น้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง ทางไหลออก ๔ ทาง จึงจำเป็นต้องเปิดทางไหลเข้า ปิดทางไหลออกของสระ ด้วยการไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขทุกชนิด
ผู้ควรประดับดอกไม้ทิพย์
ผู้มีปัญญา เมื่อปรารถนาความสุข ๓ ประการ คือ คำสรรเสริญ ๑ การได้ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ ๑ ละโลกแล้วได้บันเทิงในสวรรค์ ๑ พึงรักษาศีล
การนั่งสมาธิแม้ว่าไม่สามารถทำใจให้นิ่งได้จะมีอานิสงส์บ้างไหม
ตอนนั่งสมาธิ แม้กำหนดนิมิตไม่ได้ แต่รักษาศีลได้ครบก็ได้บุญ ถ้ากำหนดนิมิตได้ ทำใจให้นิ่งได้ก็จะได้บุญมากขึ้น แต่ถึงจะกำหนดไม่ได้ ก็ได้บุญไปตามส่วน ที่ไม่ได้เลยเป็นไม่มี
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
ภิกษุณีกับแม่ชีมีความแตกต่างกันอย่างไร
ภิกษุณีมีศีล ๓๑๑ ข้อ แต่ชีมีศีล ๘ ข้อ แม่ชีกับภิกษุณี เป็นคนละประเภทกัน ภิกษุณีนั้นหมดไปนานแล้ว ส่วนแม่ชีนั้นเทียบได้แค่อุบาสิกาเท่านั้นเอง เพราะถือศีล ๘ ยกขึ้นเทียบกับภิกษุณีไม่ได้เลย
ทำไมถึงเกิดมาเป็นมนุษย์
ศีล 5 เป็นกฎธรรมชาติ เป็นนิสัยที่มนุษย์จะต้องปฏิบัติทุกคน ไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ หรือศาสนาใดก็ตาม หากเป็นมนุษย์แล้วจะต้องปฏิบัติทุกคน หากไม่ปฏิบัติแล้ว จะนำมาซึ่งความเดือดร้อนต่อตนเองและสังคมโดยส่วนรวม
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๘ )
ดูก่อนเทพธิดาอาสา ท่านจงนำความหวังในสุธาโภชน์ในตนออกเสีย เทพธิดาเช่นท่าน ยังไม่สมควรอาสนะและน้ำ สุธาโภชน์จักมีแต่ที่ไหนเล่า ท่านจงไปเสียเถิด ท่านไม่เป็นที่ชอบใจของเรา เทพธิดาอาสาถูกท่านโกสิยดาบสรุกรานเช่นนี้แล้ว ไม่อาจที่จะอยู่ ที่นั่นอีกต่อไปได้ จึงต้องอันตรธานหายไป